วันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ปริมาตรมหัศจรรย์

ปริมาตรมหัศจรรย์ 
















#ใช้ในการศึกษาเท่านั้น

ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=XaaROQf-5iM

ทรงกลม

ทรงกลม



       ในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่า ทรงกลม ดังนี้ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีผิวโค้งเรียบ 
และจุดทุกจุดบนผิวโค้งอยู่ห่างจากจุดจุดหนึ่งเป็นระยะเท่ากัน เรียกว่า ทรงกลม

จุดคงที่นั้นเรียกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม
ระยะที่เท่ากันนั้นเรียกว่า รัศมีของทรงกลม


สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวข้องกับทรงกลม
ปริมาตรของทรงกลม = 4/3 x (22/7 หรือ 3.14) x รัศมียกกำลัง 3
พื้นที่ผิวของทรงกลม = 4 x (22/7 หรือ 3.14) x รัศมียกกำลัง 2



พื้นที่ผิวของทรงกลม






ปริมาตรของทรงกลม 













#ใช้ในการศึกษาเท่านั้น

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/math03/09/site/page007.html
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEj0Q1j2sw4gLzn9pUwvnIrQvJkFxB8g8G3tObfWsgxJ_dxdjMFJ0Vpb2zC5Gumv7fuHs6lvFFAhPmAPSXtOJPwLp-KukEdek4ZCV2luxa1o5smcjKE_9gEPKJCPXoI-X-Q4vwPKl1psyigp/s1600/%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%A11.jpg
http://www.youtube.com/watch?v=0G30dNbbmJc
http://www.youtube.com/watch?v=MR29ztIUoFw

กรวย

กรวย



ในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่า กรวย ดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไม่อยู่ในระนาบเดียวกันกับฐาน และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดกับจุดใดๆ บนขอบของฐานเป็นส่วนของเส้นตรง เรียกรูปเรขาคณิตสามมิตนั้นว่า กรวย

สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกรวย
ปริมาตรของกรวย = 1/3 X (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลังสอง X สูงตรง
พื้นที่ผิวของกรวย = (22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงเอียง + (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลังสอง

พื้นที่ผิวของกรวย





ปริมาตรของกรวย










#ใช้ในการศึกษาเท่านั้น

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/math03/09/site/page006.html
http://www.youtube.com/watch?v=NGunDMoHdks
http://www.youtube.com/watch?v=dtgHBVRHI1E
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgj_P49MV4wXIhzjqTrcyn8pQeLfmgFfyZNiOJS_FiMazy1b68hw9NDU5OK1VfvbTN946L9IDHNnZKKs6jYy0PjkyEorpWQvRrVKnvdVp9NUfZQSoj94LgJM5X6YSWmjZsMSdjln-3FwJU7/s1600/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A2.bmp

ทรงกระบอก

 ทรงกระบอก



        ในทางคณิตศาสตร์ให้ความหมายคำว่า ทรงกระบอก ดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานสองฐานเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการและอยุ่บนระนาบที่ขนานกัน และเมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้ว จะได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันทุกประการกันฐานเสมอ เรียกรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นว่า ทรงกระบอก


สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับทรงกระบอก
ปริมาตรทรงกระบอก = (22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2 X สูงตรง
พื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอก = 2(22/7 หรือ 3.14) X รัศมี X สูงตรง + 2(22/7 หรือ 3.14) X รัศมียกกำลัง 2


พื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอก




ปริมาตรทรงกระบอก













#ใช้ในการศึกษาเท่านั้น

ที่มา : http://www.myfirstbrain.com/thaidata/image.asp?ID=1839815
http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/math03/09/site/page005.html
http://www.youtube.com/watch?v=LXBPJnlrEIQ
http://www.youtube.com/watch?v=y3TjAHV7esk

วันอาทิตย์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2556

พีระมิด

พีระมิด




       ในทางคณิตศาสตร์ ให้ความหมายคำว่า พีระมิด ดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น เรียกว่า พีระมิด


สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับพีระมิด
พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด = 1/2 x ความยาวรอบฐาน x สูงเอียง = พื้นที่ของหน้าทุกหน้ารวมกัน
พื้นที่ผิวของพีระมิด       = พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด x พื้นที่ฐานของพีระมิด


พื้นที่ผิวของพีระมิด     





ปริมาตรของพีระมิด















#ใช้ในการศึกษาเท่านั้น

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/math03/09/site/page004.html
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhZP5XIwO_A7O7pc-uM9ZODO3IA4PR9j2CIQ7y0F9iz6NudqiKOju79Z1tq9vPtxpvhkO6b1dRPfpx_WfQfTYrDGZZzqzyF0W8ji5WKWbolIKUROZW4Q5NRPj-sOykaIiUrhrJJIrW3tER0/s1600/%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%94.jpg
http://www.youtube.com/watch?v=vCf2yK4tzkk
http://www.youtube.com/watch?v=f6nUNTfiK5Y
http://www.youtube.com/watch?v=BjbilpBaA-U

วันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ปริซึม

ปริซึม



       ในทางคณิตศาสตร์ ให้ความหมายคำว่า ปริซึม ดังนี้
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ 
ฐานทั้งสองอยู่บนระนาบเดียวกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน 
หรือเรียกง่ายๆว่า แท่งเหลี่ยมตัน

สูตรคำนวณต่างๆที่เกี่ยวกับปริซึม

พื้นที่ผิวของปริซึม = พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ผิวหน้าตัด
ปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง

พื้นที่ผิวของปริซึม เมื่อคลี่ผิวข้างของปริซึมใด ๆ พบว่า จะเกิดเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีความยาวเท่ากับเส้นรอบฐานและส่วนกว้างเท่ากับความสูง ดังรูป


สูตร พื้นที่ผิวข้าง = เส้นรอบฐาน x สูง





พื้นที่ผิวของปริซึม




ปริมาตรของปริซึม








#ใช้ในการศึกษาเท่านั้น


ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/math03/09/site/page012.html
http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/math03/09/site/page011.html 
http://www.myfirstbrain.com/thaidata/image.asp?ID=1839753
http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/math03/09/site/page003.html
http://www.youtube.com/watch?v=TM004YsdvLQ
 http://www.youtube.com/watch?v=x91C9zoQRkw
http://www.youtube.com/watch?v=6nJgDehGmI4

พื้นที่ผิวและปริมาตร ม.3



วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

สูตรการหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตต่างๆ
1. สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส = ด้าน x ด้าน หรือ 1/2 x ผลคูณของเส้นทแยงมุม
2. สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า = กว้าง x ยาว
3. สูตรการหาพื้นที่สามเหลี่ยม = 1/2 x ฐาน x สูง
4. สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน = ฐาน x สูง หรือ 1/2 x ผลคูณของเส้นทแยงมุม
5. สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมด้านขนาน = ฐาน x สูง
6. สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมรูปว่าว = 1/2 x ผลคูณของเส้นทแยงมุม
7. สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมด้านไม่เท่า = 1/2 x เส้นทแยงมุม x ผลบวกของเส้นกิ่ง
8. สูตรการหาพื้นที่วงกลม = พาย x รัศมี2

สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของรูปเรขาคณิตต่างๆ

ปริซึม
พื้นที่ผิวของปริซึม = พื้นที่ฐาน + พื้นที่ผิวข้าง
พื้นที่ผิวข้างของปริซึม = ความยาวรอบฐาน x ความสูง
ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x ความสูง

พีระมิด
พื้นที่ผิวของพีระมิด = พื้นที่ฐาน + พื้นที่ผิวข้าง
พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด = 1/2 x ความยาวรอบฐาน x สูงเอียง
ปริมาตรของพีระมิด = 1/3 x พื้นที่ฐาน x สูงตรง

ทรงกระบอก
พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = 2¶rh + 2¶r2 หรือ 2¶r(h + r)
เมื่อ r เป็นรัศมีของทรงกระบอก และ h เป็นความสูงของทรงกระบอก
ปริมาตรของทรงกระบอก = ¶r2h

กรวย
พื้นที่ผิวของกรวย = ¶rl + ¶r2 หรือ ¶r(l + r)
เมื่อ r เป็นรัศมีของกรวย และ l เป็นความสูงเอียงของกรวย
ปริมาตรของกรวย = 1/3¶r2h

ทรงกลม
พื้นที่ผิวของทรงกลม = 4¶r2
ปริมาตรของทรงกลม = 4/3¶r3











#ใช้ในการศึกษาเท่านั้น

ที่มา : http://www.myfirstbrain.com/thaidata/Image.asp?ID=1882585
http://www.eduktc.com/main.php?inc=chap&chid=332
http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/math03/09/site/page002.html
http://www.youtube.com/watch?v=pw6KV5Tb210
http://www.youtube.com/watch?v=om6Pz1ZCnCQ